ทำเว็บให้เป็น HTTPS คือ การเข้ารหัสข้อมูลบนเว็บไซต์ของเรา เพื่อเพิ่มความปลอดภัยในการสื่อสารหรือส่งข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตครับ เราจะสังเกตเห็นว่าเว็บไหนที่เขาเข้ารหัสไว้ มันจะมีการแสดงรูปแม่กุญแจเอาไว้บน browser ลองดูจากรูปตัวอย่างนะครับ
Category: สู่เส้นทางดิจิตอล
สำหรับ วิธี backup เว็บไซต์ นั้นมีอยู่หลายวิธี เช่น ให้ผู้บริการโฮสติ้ง backup เว็บให้เรา ผ่าน Direct Admin หรือว่าจะทำด้วยตนเองโดยการ backup เว็บไซต์ ผ่าน FTP ด้วยโปรแกรม FileZilla ก็ได้ครับ ซึ่งเราต้องรู้ก่อนว่าเว็บไซต์นั้นประกอบด้วย 2 ส่วนหลักๆ คือ 1.ส่วนที่เป็นข้อมูล กับ 2.ส่วนที่เป็น database เราต้อง backup ไฟล์เว็บของเราทั้ง 2 ส่วนนี้เสมอ จะใช้วิธีใดก็ได้แล้วแต่เราถนัดครับ
แต่สำหรับ วิธี backup เว็บไซต์ ที่ทำด้วย WordPress นั้น จะมีทางเลือกสำหรับการ backup เว็บไซต์ เพิ่มเข้ามาอีก 1 วิธี คือเราสามารถใช้ปลั๊กอินในการ backup เว็บไซต์ของเราได้ ภายในคลิกเดียวครับ ซึ่งเราจะได้ข้อมูลในส่วนของไฟล์เว็บและ database มาเป็นไฟล์ชุดเดียวกันเลย จะมีวิธีการเป็นอย่างไรลองมาดูกันได้เลยครับ
คำเตือน : หากใช้ปลั๊กอินนี้ในการย้ายเว็บ พวกรูปภาพเราห้ามตั้งชื่อเป็นภาษาไทยเด็ดขาด เพราะรูปภาพมันจะไม่ตามมาด้วยตอนย้ายเว็บครับ
Pinout for the Standard ATX 24 pin 12V Motherboard Power Connector
The ATX 24 pin power supply connector is the standard motherboard power connector in computers today.
The connector itself is a Molex 39-01-2240 connector, often called a Molex Mini-fit Jr.
การใช้ Arduino ร่วมกับ NodeMCU/ESP8266 จะมีด้วยกันหลายแบบ เช่น I2C, Serial เพื่อเพิ่ม I/O เช่นเพิ่มขา digital, ขา analog ในที่นี้จะยกตัวอย่างการสื่อสารแบบ Serial ก่อนเพราะเป็นตัวอย่างที่ง่ายต่อการเข้าใจ ในตัวอย่างจะเป็นการส่งค่าระหว่าง Arduino กับ NodeMCU โดยกำหนดให้ Arduino ส่งค่า int (จำนวนเต็ม) และ float (ทศนิยม) ไปยัง NodeMCU โดยสมมติว่า Arduino กำลังส่งค่าอะไรบางอย่างเป็นจำนวนเต็ม (int) และกำลังอ่านค่า Sensor เป็นทศนิยม (float) จากตัวอย่าง เราสามารถนำค่าที่ NodeMCU อ่านได้เป็น int และ float ไปใช้งานได้เลยโดยใช้ฟังก์ชั่น parseInt(), parseFloat() ในส่วนของโค้ดโปรแกรมจะมีด้วยกันสองฝั่งคือ ฝั่งArduino และ ฝั่งNodeMCU
หมายเหตุ สามารถใช้กับ Arduino รุ่นใดก็ได้ หรือจะเอาไปใช้งานในการเพิ่ม output ให้กับ Nodemcu ก็ได้
RS-485 หรือ RS485 คือ มาตรฐานการการรับส่งข้อมูล ที่กำหนดขึ้นมาโดย สมาคม TIA / EIA เป็นการสื่อสารแบบ Serial สำหรับคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ โดยเป็นการรับส่งแบบ Half-Duplex โดยในระบบกำหนดให้มี Master 1 ตัวเพื่อคอยจัดคิวการสื่อสารใน Networkและ ให้อุปกรณ์ที่เหลือเป็น Slave โดย Slave แต่ละตัวจะมี Address ของตัวเอง เวลาที่ Master ต้องการจะสื่อสารกับ Slave ทำได้โดย ส่งโปรโตคอลออกไป โดยใน โปรดตคอล จะ ระบุ Address ของ Slave ที่ต้องการจะสื่อสารออกไป Slave ทุกตัวที่ต่ออยู่ใน Network จะรับข้อมูลแล้วเช็คดูว่า Address นั้นใน Address ของตัวเองหรือไม่ ถ้าเป็น Address ของตัวเองก็จะทำการตอบข้อมูลกลับ หรือ ทำงานตาม โปรโตคอลที่กำหนด ซึ่งการสื่อสารวิธีนี้ นิยมใช้กันใน งานอุตสาหกรรม ใช้สื่อสารระหว่าง คอมพิวเตอร์ กับเครื่องจักร หรือ อุปกรณ์ เครื่องมือวัดต่างๆ, PLCหรือ ถ้าในงานอาคาร ที่พบเห็นได้ เช่น ระบบ Access control
#ตัวเดียวก็แจ๋วได้
วิธีการง่ายที่สุดในการป้องกันต่อไฟผิดขั้ว คือ การนำไดโอดมาต่ออนุกรมกับโหลด โดยใช้ขั้ว K ของไดโอดต่อกับขาบวกของโหลด และป้อนไฟเข้าด้วยไฟบวกทางขา A ของไดโอด ตามภาพที่ 1
การต่อไฟลักษณะนี้ทำให้ไดโอดนำกระแสหรือยอมให้กระแสไหลผ่านตัวมันได้ เพราะได้รับการจ่ายไบแอส(bias)ตรงนั่นเอง ดังนั้น ไฟเข้าจึงไหลผ่านไดโอดมายังโหลดได้ ทำให้โหลดทำงานได้ตามปกติครับ
แต่เมื่อเราป้อนไฟเข้ากลับขั้วไฟ คือ จากเดิมขั้วบวกเป็นขั้วลบ(ด้านบน)และขั้วลบเป็นขั้วบวก(ด้านล่าง) ก็ทำให้ไดโอดได้รับไบแอสกลับ มันจึงไม่ชอบก็เลยไม่ยอมให้ไฟไหลผ่านตัวมันไปได้ ส่งผลให้โหลดไม่ทำงานครับ
ภาพที่ 1 ใช้ไดโอดตัวเดียวก็ป้องกันต่อไฟผิดขั้วได้
ตัวต้านทานหรือ Resistor มีหน้าที่ในการจำกัดและควบคุมปริมาณแรงดันและกระแสไฟฟ้าในวงจร ให้ไม่มากไม่น้อยจนเกินไป แต่ทั้งนี้ตัวต้านทานก็มีค่าความต้านอยู่หลายค่า จึงต่อมีการคำนวณค่าหาค่าความที่เหมาะสม ที่จะมาใช้ในวงจรของเรา
It was recently a friend’s birthday. Facebook, being the helpful social network it is, prompted me to “send her good thoughts”.
So I did.
“Hope you had a rad one!” I wrote. I hit Post, and my birthday greeting popped onto her wall. However, this post looked a little different. The word “rad” was in a bright purple… and when I clicked on it, little thumb-up emojis popped up and flew across the screen, leaving colourful trails in their wake. What was going on?
After couple of failed Google searches and some digging with the Developer Tool, it turned out that I had accidentally triggered one of Facebook’s “Text Delight” features. I had seen the “congrats” animation before, but it looks like there are three “secret” animations in total. Here they are, along with the list of keywords that activate them.