โมดูลแสดงตัวเลขดิจิตอล 4 หลัก โมดูลแสดงตัวเลขแบบ 7 segment ใช้แสดงเลขแบบดิจิตอล 4 หลัก ใช้ไฟได้ระหว่างช่วง 3.3-5 โวลต์ เหมาะกับแสดงผลตัวเลขที่เห็นสว่างได้อย่างชัดเจน ใช้ IC เบอร์ 74HC595 เป็นตัวขับ 7 segment led display

________________________________________________________________________________________________

 library /code

________________________________________________________________________________________________

วิธีการต่อขา ใช้งาน  

module -> Arduino

 

  • sclk -> 4
  • rclk -> 5
  • dio -> 6

________________________________________________________________________________________________

Read More

I2C คืออะไร???
 
I2C Bus ย่อมาจาก Inter Integrate Circuit Bus (IIC) นิยมเรียกสั้นๆว่า I2C Bus (ไอ-สแควร์-ซี-บัส) 
เป็นการสื่อสารอนุกรม แบบซิงโครนัส (Synchronous) เพื่อใช้ติดต่อสื่อสาร ระหว่าง
ไมโครคอนโทรลเลอร์กับอุปกรณ์ภายนอก ซึ่งถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัท Philips Semiconductors
โดยใช้สายสัญญาณเพียง 2 เส้นเท่านั้น คือ Serial Data (SDA) และสาย Serial Clock (SCL) 
ซึ่งสามารถ เชื่อมต่ออุปกรณ์ จำนวนหลายๆ ตัว เข้าด้วยกันได้ ด้วยพอร์ตเพียง 2 พอร์ตเท่านั้น!!!

Read More

USB to serial(TTL) เสียบกับ notebook ซึ่งเป็น windows 10 ไม่สามารถใช้งานได้

install PL2303 USB to serial driver windows 10, 8
install PL2303 USB to serial driver windows 10, 8

ดูใน driver status ขึ้นข้อความดังนี้

This device cannot start. (Code 10)
A device which does not exist was specified.

 

pl3203
pl3203

Read More

Pull up, Pull down คืออะไร 

        คือการต่อ ตัวต้านทานที่ขา input ของไมโครคอนโทลเลอร์ 

เหตุผลที่ต้องต่อ 

        ถ้าเราต่อสวิตส์หรือ เซนเซอร์ต่างๆ เข้ากับไมโครคอนโทรเลอร์ตรงๆ อย่างเดียว อาจจะทำให้เกิดสัญญาณรบกวนได้ในกรณีที่ input ถูกลอยขาไว้ ไม่ได้จ่าย logic high หรือ low เช่น การต่อสวิตส์ ถ้าเรากดสวิตส์ จะทำให้มี logic high จ่ายให้กับ input ของไมโครคอนโทลเลอร์ แต่ถ้าเราปล่อยสวิตส์ ทำให้ ขา input ถูกลอยไว้ ไม่ได้ต่อลงกราวหรือ logic low ดังนั้นจึงต้องต่อ Pull up, Pull down เพื่อให้แน่ใจว่าเป็น logic high หรือ low เสมอ ถึงแม้ว่าจะไม่มี input ป้อนเข้ามา
** ไม่ได้ใช้เฉพาะเจาะจงใน arduino อย่างเดียว ทุกอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เลยที่บอกว่าขาอินพุทเป็น High Impedance         ตามปกติ ตัวต้านทานที่ใช้ในวงจร Pull-up หรือ Pull-down จะใช้ประมาณ 5k Ohm -20k Ohm

Read More

การใช้ Arduino แบบ Standalone หมายถึงการหยิบเอาเฉพาะตัวไมโครคอนโทรลเลอร์ (MCU) ที่อยู่บนบอร์ด มาเพียงตัวเดียว และนำมาต่อวงจรต่างๆที่จำเป็นเพิ่มเติมในภายหลัง ซึ่งวิธีนี้ทำให้เรามีความยืดหยุ่นในการดีไซน์วงจรได้มากขึ้น แถมขนาดที่อาจเล็กลง แต่ที่แน่ๆคือ ราคาถูกลงแน่นอน เพราะถ้าเทียบกับงานที่ต้องใช้ Arduino จำนวนมากๆ แต่ถ้าเราซื้อมาเฉพาะตัวไมโครคอนโทรลเลอร์ ก็จะประหยัดเงินได้หลายเท่า

Read More

This tutorial was originally posted on the 10kohms.com website, which now seems to be no longer with us, so we have reproduced it here.

In my last post I discussed using the built in EEPROM to store permanent data on the Arduino. All though this is a very easy and effective way of storing data on the Arduino the built in EEPROM only offers 512 bytes of storage. When working with larger or more advanced Arduino projects we may need to store additional data so an external memory solution like the 24LC256 I²C EEPROM IC becomes necessary.

We’re using a 256kbit eeprom which is actually 32kbytes of space. 262,144 bits / 8 bits in a byte = 32,768 bytes. That’s 62 times the Arduino’s built-in storage!

Read More

I got my hands on an AT24C256 (256 kbit = 32 kbyte serial EEPROM). I found no library for it, so I created a small sketch with few functions to show how the i2c_eeprom_write_page and i2c_eeprom_read_byte functions work.

Because this chip is I2C, it only uses the analog pins 4 & 5 (SDA and SCL), and of course the power (5V) and GND.

Connect as follows:

Arduino analog pin 4 to EEPROM pin 5
Arduino analog pin 5 to EEPROM pin 6
Arduino 5V to EEPROM pin 8
Arduino GND to EEPROM pin 1,2,3,4

Read More

รู้จักกับตัวเก็บประจุ
ตัวเก็บประจุ , คาปาซิเตอร์ (Capacitor) หรือ ตัว C ที่เรานิยมเรียกกัน ตัวเก็บประจุจะทำหน้าที่เก็บประจุไฟฟ้าและคายประจุไฟฟ้า โดยจะว่าไปแล้วตัวเก็บประจุทำหน้าที่คล้ายกับแบตเตอรี่ แต่จะเก็บกระแสไฟฟ้า ได้น้อยกว่าและจะจ่ายกระแสไฟฟ้าไฟฟ้าได้เร็ว กว่า
โดยตามโครงสร้างแล้วตัวเก็บประจุจะประกอบด้วยแผ่นตัวนำวางประกบกันโดยเว้นระยะห่างของแผ่นตัวนำโดยภายในจะมีสารไดอิเล็กตริกอยู่ เราจึงนิยมมักเห็นตัวเก็บประจุอยู่ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์เสมอ นอกจากเราจะใช้ตัวเก็บประจุ เก็บและคายประจุให้วงจรอิเล็กทรอนิกส์แล้วเรายังใช้ตัวเก็บประจุ ในวงจรกรองความถี่ได้อีกด้วย หน่วยของตัวเก็บประจุเรียกว่า F (ฟารัส) 10uF(10ไมโครฟารัส) 0.01uF (0.01ไมโครฟารัส) เป็นต้น ซึ่งการอ่านค่าและ การแปลงหน่วยจะกล่าวถึงในส่วนต่อไป

Read More